โรคเอดส์ ความรู้เรื่องโรคเอดส์
เอดส์หรือโรคเอดส์เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ไปทำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำให้ร่างกายเสี่ยงต่อการติดเชื้อฉวยโอกาส
องค์การอนามัยโลกได้นิยามการวินิจฉัยโรคเอดส์ใหม ่เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยและการรักษา
การวินิจฉัยผู้ที่ติดโรคเอดส์ในผู้ที่อายุมากกว่า 18 ปีซึ่งต้องมีเกณฑ์ดังนี้
และหรือ
สำหรับเด็กอายุน้อยกว่า18ปี การวินิจฉัยโรคเอดส์มีเกณฑ์ดังนี้
การวินิจฉัย Primary infection
องค์กรควบคุมโรคติดต่อของประเทศอเมริกา(CDC)ได้ให้คำนยามไว้ดังนี้
การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคเอดส์ชนิด advance (advanced HIV infection)
การประเมินความรุนแรงของโรคเอดส์ก่อนการรักษา
การประเมินความรุนแรงหรือระยะของโรคจะมีประโยชน์ในการประเมินก่อนการรักษาและประเมินเพื่อติดตามผลการรักษา และเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจให้ยาต้านไวรัสหรือการให้ยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
การประเมินความรุนแรงของโรคแบ่งเป็น
การประเมินความรุนแรงจากอาการของโรค
อากาของผู้ป่วยโรคเอดส์
|
เกณฑ์ความรุนแรงตามองค์การอนามัยโรค WHO
|
ไม่มีอาการ
|
1
|
มีอาการน้อย
|
2
|
มีอาการโรคเอดส์Advanced symptoms
|
3
|
มีอาการรุนแรง Severe symptoms
|
4
|
การประเมินความรุนแรงจากภูมิของร่างกาย
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อโรคเอดส์จะมีการตอบสนองของเซลล์ CD4 เมื่อโรคเป็นมากเซลล์จะลดลง หากการรักษาได้ผลเซลล์CD 4ก็จะเพิ่มขึ้น แต่จำนวนเซลล์ก็ขึ้นกับอายุดังนั้น
HIV-associated
immunodeficiency |
จำนวน CD4 ในแต่ละอายุ
|
|||
<11 เดือน
(%CD4+) |
12–35 เดือน
(%CD4+) |
36 –59 เดือน
(%CD4+) |
>5 ปี (จำนวน cd4/mm3 sinv
%CD4+) |
|
None or not significant |
>35
|
>30
|
>25
|
500
|
Mild |
30–35
|
25–30
|
20–25
|
350−499
|
Advanced |
25–29
|
20–24
|
15−19
|
200−349
|
Severe |
<25
|
<20
|
<15
|
<200 หรือ<15%
|
การตัดสินใจให้ยารักษาหรือป้องกันการตอดเชื้อฉวยโอกาส
การเจาะเลือดหาจำนวนเซลล์ CD4จะช่วยในการตัดสินใจให้ยารักษาหรือยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส
การประเมินความรุนแรงของโรคเอดส์โดยอาศัยอาการหรือโรคแทรกซ้อน
ความรุนแรงของโรคระดับ1 | อาการของผู้ป่วย |
ไม่มีอาการ Asymptomatic |
|
ต่อมน้ำเหลืองโต Persistent generalized lymphadenopathy | ต่อมน้ำเหลืองโตมากว่า1 ซมโดยไม่พบสาเหตุ มากกว่า2แห่ง |
ความรุนแรงของโรคระดับ2 | |
น้ำหนักลดลง 10 %จากปกตโดยไม่ทราบสาเหตุิ |
|
มีการติดเชื้อทางเดินหายใจซ้ำๆ เช่นไซนัสอักเสบ sinusitis,ต่อมทอนซิลอักเสบ tonsillitis, หูชั้นกลางอักเสบ otitis media และคออักเสบ pharyngitis) | ผู้ป่วยจะมีอาการปวดใบหน้า น้ำมูกไหลข้างเดียว เจ็บหู หรือเจ็บคอ |
งูสวัด Herpes zoster | มีตุ่มขึ้นตามแนวเส้นประสาท |
ปากนกกระจอก Angular cheilitis | มุมปากแตกตอบสนองต่อยารักษาเชื้อรา |
แผลในปากเป็นซ้ำRecurrent oral ulceration | เป็นแผลร้อนในมากกว่า2ครั้งในระยะเวลา 6 เดือน |
ผื่นที่ผิวหนัง Papular pruritic eruptions | ผื่นคันเป็นตุ่มๆและมักจะเป็นจุดดำๆ |
ผื่แพ้ไขมัน Seborrhoeic dermatitis | ผิวหนังคนและมีขุยมักเป็นบริเวณที่มีผมหรือขน เช่นศรีษะ รักแร ร่องจมูก |
เชื้อราที่เล็บ Fungal nail infections | มีการอักเสบของเล็บหรือมีการติดเชื้อราที่เล็บ |
ความรุนแรงของโรคระดับ3 | |
น้ำหนักลดลงมากกว่าร้อยละ10โดยไม่ทราบสาเหตุ |
น้ำหนักลด แก้มตอบ แขนขาลีบ ดัชนีมวลกายน้อยกว่า18.5 |
ท้องร่วงเรื้อรังมากกว่า 1 เดือน | ถ่ายอุจาระเหลวเป็นน้ำมากกว่า 3 ครั้งต่อวันเป็นเวลา 1เดือน |
ไข้เรื้อรัง(มากกว่า37.6องศา)นานกว่าหนึ่งเดือน | ไข้หรือเหงื่อออกกลางคืน ไข้อาจจะเป็นตลอดหรือเป็นๆหายๆ ไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะ |
เชื้อราในปาก Persistent oral candidiasis | มีอาการเจ็บปากและมีคราบขาวๆในปากเป็นๆหายๆ |
มะเร็งในช่องปาก Oral hairy leukoplakia | ผื่นขาวๆข้างลิ้น |
เป็นวัณโรคปอด | ไข้ไอเรื้อรังมากว่า 2 สัปดาห์ หรือตรวจเสมหะพบเชื้อวัณโรค หรือตรวจทางรังสีเข้าได้กับวัณโรค |
ติดเชื้อแบททีเรียชนิดรุนแรง เช่น ปอดบวม หนองในปอด กล้ามเนื้ออักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ | มีไข้ร่วมกับอาการตามระบบ เช่นไอ เจ็บหน้าอก ปวดศีรษะ |
ปากหรือเหงือกอักเสบ | ปาดอักเสบ มีแผล ฟันร่วง กลิ่นปากแรง |
ซีดโดยไม่ทราบสาเหตุ (<8 g/dl),เม็ดเลือดขาวต่ำneutropaenia (<0.5 × 109 per litre) หรือเกล็ดเลือดต่ำ chronic thrombocytopaenia (<50 × 109 per litre) |
|
ความรุนแรงของโรคระดับ4 | |
กล้ามเนื้อรีบ HIV wasting syndrome |
น้ำหนักลดลงมากกว่า10%และหรือท้องร่วงเรื้อรัง หรือไข้เรื้อรัง |
ติดเชื้อ Pneumocystis pneumonia | ไข้ เหนื่อยง่าย ไอ ตรวจทางรังสีพบปอดบวมและไม่พบว่ามีการติดเชื้อแบททีเรีย |
ปอดบวมรุนแรงซ้ำ Recurrent severe bacterial pneumonia | มีปอดบวม 2ครั้งใน 6เดือน |
ติดเชื้อเริม Chronic herpes simplex infection เรื้อรังนานมากกว่า 1 เดือน | มีผื่นที่ริมฝีปากหรืออวัยวะเพศนานกว่า1เดือนหรือเป็นๆหายๆ |
ติดเชื้อราตามอวัยวะต่างๆ Oesophageal candidiasis(or candidiasis of trachea, bronchi or lungs) | มีอาการกลืนอาหารลำบาก และเจ็บหน้าอกเนื่องจากเชื้อราในหลอดอาหาร |
เป็นวัณโรคนอกปอด Extrapulmonary tuberculosis |
ไข้ ไอ เจ็บหน้าอก ตรวจมีหนองช่องปอดหรือหัวใจ |
Kaposi’s sarcoma | ก้อนสีออกแดงที่ผิวหนังและในปาก |
ติดเชื้อCytomegalovirus infection (retinitis or infection of other organs) | รู้ได้โดยการตรวจของจักษุแพทย์ |
ติดเชื้อ Central nervous system toxoplasmosis | มีอาการอ่อนแรงของแขนและขาทำcomputer พบรอยโรคในสมอง |
HIV encephalopathy | ความจำไม่ดี การเรียนรู้หรือพฤติกรรมแย่ลง |
ติดเชื้อ Extrapulmonary cryptococcosis including meningitis | ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็งเกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบ |
ติดเชื้อDisseminated non-tuberculous mycobacterial infection | ไม่มีอาการเฉพาะ |
Progressive multifocal leukoencephalopathy | ไม่มีอาการเฉพาะ |
ติดเชื้อ Chronic cryptosporidiosis (with diarrhoed) | ไม่มีอาการเฉพาะ |
ติดเชื้อ Chronic isosporiasis | |
ติดเชื้อ Disseminated mycosis (coccidiomycosis orhistoplasmosis) | ไม่มีอาการเฉพาะ |
ติดเชื้อไทฟอยด์ซ้ำ Recurrent non-typhoidalSalmonella bacteraemia | ไม่มีอาการเฉพาะ |
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง Lymphoma (cerebral or B-cell non-Hodgkin) or other solid HIV-associated tumours | ไม่มีอาการเฉพาะ |
มะเร็งปากมดลูก Invasive cervical carcinoma | ไม่มีอาการเฉพาะ |
Atypical disseminated leishmaniasis | ไม่มีอาการเฉพาะ |
โรคเอดส์ที่มีโรคไตและโรคหัวใจSymptomatic HIV-associated nephropathy or symptomatic HIV-associated cardiomyopathy | ไม่มีอาการเฉพาะ |
วันที่: Thu Nov 14 23:18:59 ICT 2024
|
|
|